ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2020

พระกริ่งจปร 2513 วัดราชบพิธ

 พระกริ่งจปร 2513 วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพฯ พระกริ่งจปร จัดสร้างขึ้นในปีพศ 2513 พระกริ่งชุดนี้มีพิธีปลุกเสกใหญ่มากๆมีพระเกจิอาจารย์มากมายครับท่านถึง 108 รูปโดยเฉพาะมีพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมาเข้าร่วมพิธีนี้อีกด้วยซึ่งยากจะหาวิธีอื่นๆในยุคหลังๆทำได้ พระกริ่งรุ่นนี้มีประสบการณ์ต่อผู้ที่นำไปบูชาจนเป็นข่าวครึกโครม เคยมีคนเอาไปลองยิงปรากฏว่าปืนแตกเลย พระกริ่ง รุ่นนี้ออกแบบโดยนายช่างเกษมมงคลเจริญสร้างในปีพศ 2513 เนื่องใน วาระครบ 100 ปีวัดราชบพิธ พระกริ่งจปร 2513 วัดราชบพิธ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ส่งเสกพระราชดำเนินประกอบพิธีพุทธาภิเษกด้วยพระองค์เองถึงสามครั้งสามคราวน์ด้วยกันทรงเททองผสมกับชนวนโลหะวัตถุมงคลรุ่นเก่าๆของวัดราชบพิธร่วมกับแผ่นยันต์ลงอักขระของพระเกจิอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ พุทธาคมจากทั่วประเทศ 108 ลูกในวัตถุมงคลพระเครื่องทั้งเนื้อนวโลหะและเนื้อทองแดงโดยทั่วถึงกันอย่างพิถีพิถัน พิธีมหาพุทธาภิเษก 3 วัน 3 คืนโดยพระคณาจารย์ 108 รูปซึ่งล้วนแต่มีพระคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านพุทธคุณในยุคนั้นทั้งสิ้นที่รับกิจนิมนต์มานั่งปรกบริกรรมเจริญภาวนาโดยผลัดเปลี

พระกริ่งหลังปิ วัดสุทัศน์ กรุงเทพ

พระกริ่งหลังปิ วัดสุทัศน์ กรุงเทพ พระกริ่งหลังปิ วัดสุทัศน์ :สมเด็จพระพุฒาจารย์ เสงี่ยม ได้จัดสร้างพระกริ่งตามแบบองค์พระอุปัชฌาย์ คือสมเด็จพระสังฆราช แพร พระกริ่งหลังปิ มีพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิเพชรปางมารวิชัยพระหัตถ์ซ้ายทรงถือวชิระ ทรงคล้ายหัวปลี มีพุทธลักษณะคล้ายพระกริ่งจาตุรงค์มณีของพระมงคล ราชมุนี ซึ่งคงถอดพิมพ์ดังกล่าวมามีจำนวนสร้างมากถึง 100 องค์แสนเนื้อเดิมเป็นศรีจำปาออกนาก เมื่อกลับดำจะเป็นประกายแวววาวแบบปีกแมลงทับ มีผิวไฟติดอยู่ตามซอกประปราย พระกริ่งหลังปิ วัดสุทัศน์ กรุงเทพ เมื่อประกอบพิธีเททอง พระกริ่ง เสร็จสิ้นเป็นองค์พระแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์ เสงี่ยม ยังได้จัดการส่งพระกริ่งทั้งหมดนี้ไปยังพระคณาจารย์ต่างๆ เช่นหลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ หลวงพ่อเนื่องวัดจุฬามณี หลวงปู่โต๊ะวัดประดู่ฉิมพลี ให้ทำการปลุกเสกลงเลขยันต์ที่ก้นขององค์พระกริ่งแทบทุกองค์รวมทั้งหลวงปู่ดู่ที่จารเป็นยันต์กอหญ้าด้วยแล้วจึงได้ทำพิธีพุทธาภิเษกภายในพระอุโบสถวัดสุทัศน์ ซึ่งมีพระเกจิอาจารย์เป็นจำนวนมาก เมื่อวันที่ 6 7 8 กุมภาพันธ์พศ 2508 เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน พระกริ่งหลังปิ บางส่วนที่ยังคงเหลือได้เก็บไว้ในพระอุ