เหรียญหลวงพ่อเพชรวัดท่าถนน จังหวัดอุตรดิตถ์
พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดอุตรดิตถ์นั่นก็คือ หลวงพ่อเพชร แข่งวัดท่าถนน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย พุทธศิลปะสมัยเชียงแสนสิงห์ 1 ยุคต้น มีขนาดหน้าตักกว้าง 32 นิ้ว ความสูงจากฐานถึงยอดพระเกศ 41 นิ้ว พุทธพจน์งามตามแบบที่มือช่างหลวงในสมัยอยุธยา เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา เสียแก่พม่าชาวเมืองเกรงว่าพม่าจะเผาทำลายบ้านเมืองและวัดวาอารามดังนั้นจึงร่วมกันนำพระพุทธรูปสำคัญลงแพลอยน้ำล่องไปตามแม่น้ำ ส่วนพระองค์ใหญ่ เหรียญหลวงพ่อเพชรไม่สามารถลอยน้ำได้ก็เอาปูนมาพบไว้ให้ดูน่าเกลียดเพื่อที่จะ ใครรอดสายตาพม่านั่นเอง
ในปีพศ. 2436 พระอุปัชฌาย์ร่วงเจ้าอาวาสวัดหมอนไม้พาพระลูกวัดแวะชมวัดโบราณระหว่างทางท่านได้เห็นเนินดินเป็นจอมปลวกใหญ่โดดเด่น แต่เมื่อพิจารณาลักษณะแล้วดูต่างจากจอมปลวกทั้งหลายท่านจึงเข้าไปแกะเนื้อดินส่วนยอดปรากฏเห็นพระเอกของพระพุทธรูปจึงอาราธนามายังวัดหมอนไม้นับแต่นั้นเป็นต้นมาประชาชนต่างก็เดินทางมากราบนมัสการไม่ขาดสายพระอุปชาด้วง ถึงพัฒนาไปประดิษฐานที่วัดท่าถนนเนื่องจากเป็นพระวิหารที่สวยงามมั่นคงและการเดินทางมากราบไหว้นมัสการก็สะดวกกว่าวัดหมอนไม้ และท่านได้ถวายพระนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่าหลวงพ่อเพชร เนื่องด้วยพุทธลักษณะที่ประทับนั่งขัดสมาธิเพชรนั่นเอง
เหรียญหลวงพ่อเพชรรุ่นแรกนั้นจัดสร้างในปีพ.ศ๒๔๘๓ซึ่งปัจจุบันหาได้ยากยิ่งนักทั้งยังเป็นที่แขวนของคนในพื้นที่ดังนั้นจึงเห็นควรที่จะมาสะสมเหรียญหลวงพ่อเพชรปี 2513 เนื่องจากขายได้ง่ายกว่าแต่พุทธานุภาพเท่าเดิมลักษณะเป็นเหรียญปั๊ม ตรงกลางเป็นรูปจำลองหลวงพ่อเพชรนั่งประทับ ภายใต้ฉัตร 7 ชั้น โดยรอบประทับด้วย โวหารๆสะบัดพริ้วไหวภายในจารึกอักษรไทยว่าพระหลวงพ่อเพชรวัดท่าถนนพ.ศ๒๕๑๓ด้านหลังเป็นยันต์ 8:00 น ตรงกลางวันมีอักขระขอมตัวนะด้านบนติดเข็มกลัดเหรียญหลวงพ่อเพชรวัดท่าถนนตรงพุทธคุณเป็นเลิศในด้านแคล้วคลาดและคงกระพันเป็นอย่างบ้าน