ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

พิธีมหาพุทธาภิเษก หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ปี 15


กำหนดมหาพิธีกรรมอันยิ่งใหญ่แห่งศาสนพิธี และไสยพิธีประกอบด้วยสมณชีพราหมณ์ ผู้รู้ได้ร่วมจิตใจกันประกอบพิธี “หล่อรูปเหมือนทำพิธีเททองหล่อหลวงพ่อเงิน ที่วัดสุทัศนเทพวราราม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม 2514 และทำมหาพุทธาภิเษก ไสยศาสตร์ พิธีบวงสรวงตามจารีตประเพณีโบราณาจารย์ เจริญภาวนาปลุกเสกหลวงพ่อเงิน เพื่อเป็นมหาลาภ,มหาผล,ดลบันดาลให้สัมฤทธิ์ผลตามปรารถนาดี ณ.วัดหิรัญญาราม (วัดตะโก-หลวงพ่อเงิน) ตำบลบางคลาน อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตรงกับวันอาทิตย์ ที่ 30 มกราคม 2515
(วันเพ็ญเดือน 3)
พระเทพเมธี ประธานพิธีสงฆ์ จุดเทียนชัย
พระครูกัลยาณานุกุล (เฮง) ฝ่ายพิธีการ
พระครูศรีพรหมโสกิต (แพ) ฝ่ายพิธีการ
พระครูพิลาศธรรมกิตต์ (ทวี) ฝ่ายพิธีการ
พระอาจารย์ผ่อง (จินดา) ฝ่ายพิธีการ
พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานฆราวาส
นายสมบูรณ์ เจริญจิตร รองประธานฯ
นายเผด็จ จิราภรณ์ รองประธานฯ


กำหนดพิธีมหาพุทธาภิเษก
รูปหล่อและปูชนียวัตถุหลวงพ่อเงิน
ณ.พระอุโบสถวัดหิรัญญาราม (วัดตะโก)
ตำบลบางคลาน อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม 2515 (วันเพ็ญเดือน3)
09.00 น. แสดงนิทรรศการ พระบูชา-พระเครื่อง-วัตถุโบราณ ของเมืองพิจิตร
09.30 น. พระครูพิบูลธรรมเวท ประกอบพิธีสักการบูชาครูบาอาจารย์ ,อดีตเจ้าอาวาส, อดีตผู้อุปการคุณต่อวัดหิรัญญาราม จนกระทั่งปัจจุบัน
09.50 น. คณะกรรมการฝ่ายสงฆ์ และฝ่ายฆราวาส พร้อมกันไปถวายเครื่องสักการบูชาหลวงพ่อเงิน
14.00 น. แขกรับเชิญถึงบริเวณพิธี ณ.พระอุโบสถวัดหิรัญญาราม (วัดตะโก)
14.15 น.พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานคณะกรรมการอำนวยการ ถึงบริเวณพิธี
14.25น. พระราชาคณะ 9 รูป ที่เจริญพระพุทธมนต์เข้านั่งยังอาสนสงฆ์
14.30 น. บัณฑิต และคณะกรรมการฝ่ายฆราวาส ประกอบพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณหลวงพ่อเงิน และกรมหลวงชุมพรเขตต์อุดมศักดิ์
15.00 น. บัณฑิตเชิญ พลตรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานคณะกรรมการอำนวยการ ถวายเครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัย
-เจ้าหน้าที่อาราธนาศีล
-พระเทพเมธี ประธานพิธีสงฆ์ให้ศีล
-คณะกรรมการ ฯ และแขกรับเชิญรับศีล
15.15 น. บัณฑิตและคณะกรรมการฝ่ายฆราวาสประกอบพิธีบวงสรวงประกาศต่อเทพยดาทั่วจักวาล
15.40 น. บัณฑิต ประกอบพิธีบวงสรวงบูชาฤกษ์
-ดนตรีบรรเลงเพลงสาธุการ
16.19 น. ได้ฤกษ์อันเป็นมหามงคลอุดมฤกษ์
-บัณฑิตลั่นฆ้องชัย
-พระเทพเมธี ประธานพิธีสงฆ์ อธิษฐานจุดเทียนชัย
-บัณฑิตเป่าสังข์ แกว่งบัณเฑาะว์แตรสังข์
-ดนตรีประโคมเพลงมหาฤกษ์มหาชัย
-เจ้าหน้าที่อาราธนาพระปริตต์
-พระสงฆ์ราชาคณะ ๙ รูป เจริญพระพุทธมนต์ตามแบบฉบับของศาสนพิธีในงานมงคลสงฆ์
-พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานคณะกรรมการอำนวยการอธิษฐานจิตจุดเทียนมงคล เทียนนวหรคุณ เทียนมหามงคล (ตามกำหนดการเวลาไว้ ฆ้องกลองแตรสังข์ บัณเฑาะว์ ดนตรีประโคมเพลงมหาฤกษ์มหาชัยตามกาลเวลา พระอาจารย์ที่อาราธนามาปลุกเสกทั่วประเทศไทย นั่งปรกและบริกรรมเจริญภาวนา รอบมณฑลพิธีภาวนา ปลุกเสกตลอดเวลา)
17.49 น. เริ่มต้นพิธีมหาพุทธาภิเษก พระพิธีกรรม,พิธีสงฆ์ เข้าประจำที่
-พระพิธีธรรมเจริญพระคาถามหาพุทธาภิเษกชุดที่ 1 จำนวน 4 รูป
-พระพิธิสงฆ์ นั่งปรกและบริกรรมเจริญภาวนา ชุดที่ 1 จำนวน 8 รูป
-พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานคณะกรรมการอำนวยการถวายเครื่องสักการบูชาพระธรรมพระสงฆ์ พร้อมทั้งจุดเทียนมหาพุทธภิเษก
-พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร ประธานคณะกรรมการอำนวยการกลับ
พระสงค์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพระพุทธมนต์
1.พระครูโพธิคุณาธาร
2.พระครูวิจารณ์ธรรมสิริ
3.พระครูวิจิตรสารธรรม
4.พระครูวิบูลวิหารธรรม
5.พระครูนิสากรโสภณ
6.พระครูวินิจวธิรคุณ
7.พระอธิการทาน
8.พระใบฎีกาปลั่ง
9.พระครูวิจิตรวุฒิกร
ข้อมูล โดย ศรทอง
เครดิตข้อมูล: www.luangporngoen.com

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

พระลือโขง กรุวัดกู่เหล็ก ลำพูน องค์แชมป์กรุ โดยพรรค คูวิบูลย์ศิลป์

เครดิตภาพ: thairath.co.th พระเครื่ององค์แรกคือ พระลือโขงหรือพระฤาโขง สุดยอดพระเครื่องเมืองเหนือที่มีชื่อเสียงมาก ด้านความอลังการของ พุทธศิลป์หริภุญไชย ที่มีอิทธิพลศิลปะพม่า (พุกาม) ผสม..... พระสมเด็จอรหัง พิมพ์เล็ก หลังจาร วัดมหาธาตุ กทม. องค์คะแนน ของซุป เตาปูน. ลักษณะเป็นพระพิมพ์เนื้อดินเผาขนาดเขื่อง (ใหญ่กว่าพระคง, พระลือ) องค์พระประทับนั่งปางมารวิชัยภายในซุ้มเรือนแก้ว เหนือฐานบัว 2 ชั้น พระพักตร์ ปรากฏรายละเอียด หู ตา จมูก ปาก ครบสมบูรณ์ และชัดเจน อ่อนช้อยงดงาม เหมือนแย้มยิ้ม ..... ระยะแรกที่พบพระ ในกรุ วัดกู่เหล็ก ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังวัดประตูลี้ (ที่พบพระฤา, พระเลี่ยง) ชาวถิ่นคิดว่าเป็น รูปจำลองพระนางจามเทวี จึงนิยมเรียกกันว่า "พระนางจามเทวี ซุ้มเรือนแก้ว"..... แต่จำนวนพระมีน้อยมาก เพราะถูกนักนิยมพระเจ้าถิ่นเช่าตัดตอนเก็บไว้หมด ทำให้พระไม่แพร่หลาย ไม่ค่อยมีใครได้เห็นพระแท้องค์จริงมากนัก มีแต่เสียงร่ำลือถึงความงดงามว่าเทียบเคียงกับ พระรอด..... กระทั่งราวๆปี 2511 ก็มีการค้นพบพระพิมพ์นี้จากที่เดิมอีกครั้งใหญ่ แต่คัดแล้วได้พระสภาพสมบูรณ์เพียงแค่หลัก

เหรียญพระมหาพุทธพิมพ์ ปี 2461 วัดไชโยวรวิหาร

เหรียญพระมหาพุทธพิมพ์ ปี 2461 วัดไชโยวรวิหาร ที่มา:คอลัมน์ พันธุ์แท้พระเครื่อง ราม วัชรประดิษฐ์ เหรียญพระมหาพุทธพิมพ์ ปี 2461 วัดไชโยวรวิหาร เหรียญ พระเครื่องในประเทศไทยนั้นมีการสร้างกันมากมายทั้งเหรียญพระพุทธและเหรียญ พระสงฆ์ ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไปตามเจตนารมณ์ของผู้จัดสร้าง อาทิ พระเกจิคณาจารย์จัดสร้างขึ้นเพื่อแจกจ่ายลูกศิษย์ลูกหา หรือเพื่อหาทุนทรัพย์บูรณปฏิสังขรณ์ศาสนวัตถุต่างๆ ฯลฯ บางทีก็เป็นฆราวาสที่สร้างถวายวัดเพื่อการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์หลักก็คือ การสืบสานพระพุทธศาสนา เหรียญพระเครื่องจึงเกิดขึ้นมากมายมาแต่ครั้งโบราณกาลจวบจนปัจจุบัน ดังนั้นการที่จะคัดเลือกเหรียญระดับยอดนิยมจึงไม่ใช่เรื่องง่ายๆ อย่างเช่น เหรียญพระมหาพุทธพิมพ์ วัดไชโยวรวิหาร ครับผม

พระกริ่งราชาฤกษ์ เจ้าคุณศรี ประหยัด วัดสุทัศน์ กรุงเทพฯ

 พระกริ่งราชาฤกษ์ เจ้าคุณศรี ประหยัด วัดสุทัศน์ กรุงเทพฯ พระกริ่งรุ่นนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาในการพิธีและทรงเจิมสรรพสิ่งของในพิธีแล้วทรงพระสุหร่ายจากนั้นเสด็จลงเททองในพิธีแล้วทรงจุดเทียนชัยพิธีปลุกเสกและท่านเจ้าคุณศรีได้กล่าว ปรารภขึ้นว่าปีนี้เป็นปีปีพ.ศ 2517 มีฤกษ์ยามที่เป็นมงคลเหมาะแก่การประกอบพิธีหล่อพระและทำเครื่องรางของขลัง พระกริ่งราชาฤกษ์ จึงถือกำเนิดขึ้นในวันที่ 2 พฤศจิกายนพ.ศ๒๕๑๗จำนวน 200 องค์แต่งสวยทุกองค์ด้วยฝีมือช่างคนเดียวกันทุกองค์พระกริ่งรุ่นนี้เป็นพระกริ่ง 1 ใน 3 รุ่นหลังของท่านที่สร้างในปีพ.ศ 2517 พระกริ่งราชาฤกษ์ ท่านเจ้าคุณได้กำหนดฤกษ์เททองในการสถาปนาเป็นองค์พระคือราชาฤกษ์อันเป็นอุดมมงคลเลิศด้วยเห็นว่าการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาในการพิธีนี้เป็นมงคลอันสูงสุดส่วนแม่พิมพ์ของพระกริ่งรุ่นนี้ได้แบบอย่างพระกริ่ง 79 ของสมเด็จแพใช้ชนวนพระกริ่งรุ่นเก่าของวัดสุทัศน์รวมถึงพระยันต์ของพระเกจิยุคก่อนพศ 2500 และหลังพ.ศ 2500 ที่ท่านได้รวบรวมไว้แต่ในอดีต และพระยันต์ของท่านที่ได้ลงไว้เป็นส่วนผสมสำหรับเททองหล่อ พระกริ่ง ในคราวนี้ พระกริ่ง ที่สร้างในปีพ.ศ๒๕๑๗นี้เ

พระกริ่งเชียงตุง 2486 วัดสุทัศน์

พระกริ่งเชียงตุง 2486 วัดสุทัศน์ ขอบคุณภาพจาก แดน ท่าพระจันทร์ สมเด็จพระสังฆราช(แพ) องค์อมตะเถราจารย์แห่งสำนักวัดสุทัศน์เทพวราราม ซึ่งเป็นองค์ปรมาจารย์ในเรื่องการสร้างพระกริ่งแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ท่านได้สถาปนาพระกริ่งรุ่นแรก เทพโมลี พ.ศ.2441 จนถึงรุ่นสุดท้าย เชียงตุง พ.ศ.2486 รวมเวลาได้ 45 ปี

หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน งานจิวเวลรี่ พิมพ์เหมือนจริง รุ่นพระพิจิตร

  วัตถุมงคลหลวงพ่อเงินวัดบางคลาน งานจิวเวลรี่ พิมพ์เหมือนจริง หลวงพ่อเงิน บางคลาน รุ่นพระพิจิตร จัดสร้างเป็นครั้งแรก ในรูปแบบงานจิวเวลรี่เป็นความงดงามตามแบบพิมพ์ฝีมือช่างปั้นได้ละม้ายคล้าย หลวงพ่อเงิน มากที่สุดโดยเฉพาะตาลปัตรซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ของท่าน ด้านหลังพระจารึกมหายันต์ นับเงิน และยันต์หัวใจ พระไตรปิฎก ทั้งที่ได้จัดสร้างจากชนวนศักดิ์สิทธิ์ ทองคำหนัก 65 บาท เงินบริสุทธิ์หนัก 16 กิโลกรัม นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกเททอง ในวันเพ็ญเดือน 12 ที่ผ่านมา ณพระอุโบสถหลวงพ่อเพชร จังหวัดพิจิตร โดยพระผู้ทรงวิทยาคมคูณ 25 รูป หลังจากนั้นได้นำไปรีดเป็นแผ่น จานมหายันต์ตาม ตำรับหลวงพ่อเงิน อาชิ ยันต์พระเจ้าห้าพระพุทธ ยันต์นะเงิน ยันต์หัวใจพระสิวลีมหาลาภเป็นต้น ทั้งนี้ทางวัดได้นำไปเป็นจำนวนจัดสร้างหลวงพ่อเงินในรูปแบบจิวเวลรี่ เนื้อทองคำขัดเงา เนื้อเงินชุบสามกษัตริย์ เนื้อเงินพ่นทรายขัดเงา เนื้อนวะแก่ทองคำ ที่สำคัญพระรุ่นนี้มีหมายเลขและโค้ดกำกับทุกองค์ ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก ณ.อารามศักดิ์สิทธิ์ประจำเมืองพิจิตร 2 แห่ง คือ ที่อุโบสถวัดบางคลาน และอุโบสถหลวงพ่อเพชร วัดท่าหลวง นับเป็นวัตถุมงคลที่งดงาม มีพุทธ